ประวัติประตูเมือง

ประตูหวาย ประตูเป็นป่าหวายที่หนาทึบ เนื่องจากอยู่ปากหลอง คือ หนองเขียว และในตอนนั้นลา เสาก็ได้ใช้หวายเป็นวัตถุแทนเชือก ปัจจุบันประตูหวายตั้งอยู่ บริเวณหอนาฬิกาใหม่ ศิลปะชิ้นเอกของ อาจารย์เฉลิมชัย
ประตูเชียงใหม่ หรือประตูใหม่ สมบูรณ์แบบกว่าประตูอื่นๆ คือ เป็นประตูโขง (ประตูที่เป็นซุ้มก่อเป็นช่องด้านบนก่ออิฐโค้งมาจบกัน) การเดินทางออกไปติดต่อกับเมืองเชียงใหม่ ออกไปประตูนี้ ช่วงหลัง ต่อมาจึงเรียกว่า ประตูเชียงใหม่ (สร้างเสร็จหลังสุด)
ประตูผี มาจากการย้ายสุสาน ในอดีตการย้ายสุสานไปทางทิศ ่าตะวัน่น ออกเฉียงใต้มาไว้ทิศตะวันตกเวียง มีบันทึกไว้ว่า สกราช 1211 ราชครูเกสร วัดพระนมดี เมืองนครเชียงใหม่เป็นสังฆะ 100 คนนั้น ย้ายสุสานเดือน 6 ขึ้น 5 ค่า เอาศพจ้าวบุรีภูเกียงไปเผา ประเดิมศพ แรกที่ทา การฌาปนกิจ ณ ที่สุสานเด่นห้า คือ ศพจ้าวบุรีภูเกียง จ้าว บุรีรัตน์เมืองเชียงราย บุตรของจ้าวพญาคาฝัจ้าวผู้ครองนคร เชียงใหม่องค์ที่ 3 สาเหตุที่ต้องย้ายปช้าเพราะเกณฑ์กา หนดทักษะ ตามโบราณศาสตร์ว่า ''ในเวลานั้นเราสสดอนก็สิบหาย ตายกันนัก''

ประตูท่อ เป็นปากเหมืองทางระบายน้าออกจากเวียงเชียงราย เพราะใน เวียงมีแต่แหล่งน้าที่เป็น สระเกษมเมือง หรือหนองสี่แจ่ง และหนอง เมืองลวง รับน้าแม่กกจากหนองอู่วังคา ด้านหัวน้าทางตะวันตกเฉียง เหนือของเวียง ชักน้าเข้ามาเลี้ยงในเมือง แล้วระบายน้าออกทางท่อ ใกล้ประตูเมืองด้านตะวันออก ลงที่ร่องปลาค้าว ซึ่งติดกับแม่น้ากก ทางวังดินและแควหวาย ปัจจุบันนี้หาซากประตูไม่ได้ สถานที่ไปอยู่ใน ที่ของเอกชน ส่วนท่อระบายน้าก็ถูกถมจนไม่ทราบว่า จุดไหนเป็น ปลายท่อหรือหัวท่อ จึงได้ชื่อว่า ประตูท่อ
ประตูเจ้าชาย แต่เดิมเรียกว่าประตูจ้าว เป็นชื่อยศทางการทหารและเจ้าชายที่ เป็นญาติกับเจ้าหลวง เรียกว่า เจ้าชาย มีค้มุอยู่ใกล้กับกา แพงเมือง ได้บงการให้ชาวบ้านช่วยกันเจาะแต่งกาแพงเมืองให้เป็นช่องพอให้ ช้างผ่านได้ ประตูเจ้าชายเป็น 1 ใน 6 ของประตูเมืองที่ได้รับการ บูรณปฏิสังขรณ์
ประตูยางเสิ้ง หรือประตูยางเทิง , ประตูยางเนิ้ง ประตูนี้เป็นประตูที่ เจาะใหม่ เนื่องจากประตูด้านนี้อยู่ใกล้ขอบหนองสี่แจ่งด้านตะวันออก ซึ่ง ด้านนี้มีต้นยางและต้นตะเคียนสูงใหญ่ที่ขึ้นเรียงรายอยู่มาก ต้นยางขนาด ใหญ่ได้โค่นล้มทับกา แพงเวียงอยู่ ชาวบ้านจึงอาศัยปีนขึ้นไปบนลา ต้นยาง ที่ล้มนี้ ออกสู่ด้านนอกกา แพงเวียง ตอนหลังได้ช่วยกันเจาะเป็นช่องพอเข้า ออก ได้สะดวก ทางการบ้านเมืองเห็นว่าทาเป็นทางเข้า ออกเวียงได้ จึงเกณฑ์ชาวบ้านมาเจาะแต่งและสร้างเป็นประตูเมืองขึ้นมา และเรียก ประตูนี้ว่า ประตูยางเสิ้ง บางที่ก็เรียกว่า ยางเนิ้ง (เสิ้ง , เนิ้ง = เอน) และ ยางเทิง เพราะประตูนี้สามารถเป็นทางผ่านไปเมืองเทิงได้ด้วย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น