สำรวจสถานที่ตั้งของประตูเมือง หลังจากหาข้อมูลเสร็จ
ประตูเมืองเชียงราย
บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการศึกษาค้นคว้าองคืความรู้ใหม่ที่สนใจ ซึ่งผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ และแหล่งข้อมูลต่างๆ ผิดพลาดประการใด จึงขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ประวัติประตูเมือง
ประตูหวาย ประตูเป็นป่าหวายที่หนาทึบ
เนื่องจากอยู่ปากหลอง คือ หนองเขียว และในตอนนั้นลา
เสาก็ได้ใช้หวายเป็นวัตถุแทนเชือก ปัจจุบันประตูหวายตั้งอยู่ บริเวณหอนาฬิกาใหม่
ศิลปะชิ้นเอกของ อาจารย์เฉลิมชัย
ประตูเชียงใหม่
หรือประตูใหม่ สมบูรณ์แบบกว่าประตูอื่นๆ คือ เป็นประตูโขง (ประตูที่เป็นซุ้มก่อเป็นช่องด้านบนก่ออิฐโค้งมาจบกัน)
การเดินทางออกไปติดต่อกับเมืองเชียงใหม่ ออกไปประตูนี้ ช่วงหลัง ต่อมาจึงเรียกว่า
ประตูเชียงใหม่ (สร้างเสร็จหลังสุด)
ประตูผี มาจากการย้ายสุสาน
ในอดีตการย้ายสุสานไปทางทิศ ่าตะวัน่น ออกเฉียงใต้มาไว้ทิศตะวันตกเวียง
มีบันทึกไว้ว่า สกราช 1211
ราชครูเกสร วัดพระนมดี เมืองนครเชียงใหม่เป็นสังฆะ 100 คนนั้น ย้ายสุสานเดือน 6 ขึ้น 5 ค่า เอาศพจ้าวบุรีภูเกียงไปเผา ประเดิมศพ แรกที่ทา การฌาปนกิจ ณ
ที่สุสานเด่นห้า คือ ศพจ้าวบุรีภูเกียง จ้าว บุรีรัตน์เมืองเชียงราย
บุตรของจ้าวพญาคาฝัจ้าวผู้ครองนคร เชียงใหม่องค์ที่ 3 สาเหตุที่ต้องย้ายปช้าเพราะเกณฑ์กา
หนดทักษะ ตามโบราณศาสตร์ว่า ''ในเวลานั้นเราสสดอนก็สิบหาย
ตายกันนัก''
ประวัติประตูเมืองเชียงรายโดยย่อ
ประตูท่านาค
ก่อนที่พระยามังรายจะหาแนวกา แพงในวันรุ่งขึ้นในตอน ฟ้าฮ่าม
พระองค์ได้ตกลงกับพระสหายคนหนึ่งชื่อ นาค ว่าจะทา หมายกาแพง เมือง
พระสหายนาคมาคอยอยู่เป็นเวลานาน เนื่องจากพระยามังราย ยังไม่ตื่นจากพระบรรทม นาค
จึงสร้างแนวกาแพงไว้คร่าวๆแล้วจาก ไป พระยามังรายจึงตัง้ชื่อกาประตูนี้ว่า
ประตูท่านาค
ประตูนางอิง
ที่ได้ชื่อนี้เพราะ ขณะที่กาลังเรมิ่สร้างได้มีสตรีนางเมือง ออกมา
ดูพวกู้ชายสร้างกาแพงเมือง บ้างก็ช่วยนาน้าท่า หมาก พลู เมี่ยง บุหรี่ มาให้
บ้างก็ยืนพิงกาแพง พักผ่อนอิริยาบถ โดยนางได้ยืนพิง ต้นไม้บ้าง กา แพงบ้าง
เป็นการพักผ่อนอิริยาบถ ประตูนี้จึงได้ชื่อว่า ประตูนางอิง (อิง = พิง)
ประตูท่าทราย
ในสมัยก่อนเป็นทางออกไปสู่ท่าน้าที่ชาวบ้านและสัตว์ใช้ดื่มใช้ อาบ เป็นท่าสา
หรับข้ามไปมาระหว่างเมือง ไปแม่น้ากกฝงั่หน้า เป็น หาดทรายกว่างยาว
เมื่อหน้าแล้งน้าจะแห้งจนเห็นทราย จึงได้ชื่อว่า ประตูท่าทราย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)